ช่วงนี้กระแสของโปรไบโอติกกำลังมาแรง ใครที่มีปัญหาเรื่องลำไส้ ท้องผูก หรือแม้แต่เรื่องภูมิคุ้มกัน ใครที่ภูมิตก เภสัชกรร้านยา มักจะแนะนำให้ทานโปรไบโอติก เพราะอาหารเสริมตัวนี้มีคุณสมบัติเด่นในเรื่องการปรับสมดุลลำไส้ พอลำไส้ดี ทุกอย่างในร่างกายก็จะดีขึ้นนั่นเอง
โปรไบโอติก มีหลากหลายยี่ห้อมากๆ และแต่ละยี่ห้อ ก็มีจุดเด่นที่ต่างกัน เพราะโปรไบโอติกมีหลากหลายสายพันธุ์ เช่น บางตัวเหมาะสำหรับคนเป็นโรคภูมิแพ้
วันนี้แอดมินจะมาแนะนำ โพรไบโอติกส์ ที่เป็นที่นิยมมาแนะนำกันครับ
ใครที่อยากกินโพรไบโอติกส์ แต่ไม่อยากกินแบบผสมนม ตัวนี้เป็นทางเลือกที่ดี โดยเจ้า Zenji เป็นโพรไบโอติกส์ที่ผลิตจากวัตถุดิบที่เป็น Plant base คนที่ทานเจ หรือมังสวิรัติ ก็กินได้ และผู้ที่ต้องการอาหารฮาลาล ก็ทานตัวนี้ได้เช่นกัน ขนาดตัวแคปซูลก็ทำจากพืชเช่นกัน คุณสมบัติเด่นของ Zenji ซิมไบโอติก (Synbiotics = Probiotic + Prebiotic ในแคปซูลเดียว)...
ByadminJune 28, 2025หากคุณกำลังเจอปัญหา ภูมิคุ้มกันอ่อนแอ ป่วยง่าย แพ้บ่อย ไม่ว่าจะแพ้อากาศ ผื่นคันจากลมพิษ หรือจมูกตันเรื้อรัง ยิ่งเจอปัญหาฝุ่น PM 2.5 ยิ่งทำให้ร่างกายแย่ลง ถึงเวลาที่ต้องฟื้นฟูจากภายในด้วย Dr.PONG IMS10 PROBIOTIC โพรไบโอติกส์ ระดับพรีเมียมที่มาพร้อมจุลินทรีย์ดีถึง 10 สายพันธุ์ และ จดสิทธิบัตรมากถึง 4 ฉบับ...
ByadminJune 28, 2025วูม่าบาลานซ์ ไบโอ | WOMA BALANCE BIO ตัวช่วยดูแลลำไส้ สมดุลภายใน เพื่อสุขภาพผู้หญิงทานได้ ผู้ชายทานดี จุลินทรีย์ดี 14 สายพันธุ์ พรีไบโอติก 3 ชนิด เสริมการดูดซึมจุลินทรีย์ 1 ซอง = 15,000 ล้านตัว 1...
ByadminJune 25, 2025โพรไบโอติก พลัส สูตรเข้มข้น – 50,000 ล้านตัว/แคปซูล ✅ ปริมาณ: 30 แคปซูล✅ ขนาดรับประทาน: วันละ 1 เม็ด ก่อนอาหารเช้า 30 นาที✅ คุณสมบัติเด่น: จุลินทรีย์ดีสูงถึง 50,000 ล้านตัว/เม็ด ช่วยปรับสมดุลลำไส้ แก้ปัญหาท้องผูกเรื้อรัง...
ByadminJune 22, 2025โบมิ โพรไบโอติกส์ Bomi Probiotics เป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารโปรไบโอติกที่หลายคนน่าจะคุ้นเคย กับแพคเกจผลิตภัณฑ์สีม่วงๆ สดใส “โบมิ”ได้รับความสนใจอย่างมากในตลาด โดยเฉพาะ Tiktok คนรีวิวขายกันเยอะมาก ด้วยจุดเด่นที่เน้นความหลากหลายของสายพันธุ์โปรไบโอติก และรูปแบบที่รับประทานง่าย มาดูกันว่าโพรไบโอติกส์ยี่ห้อนี้ มีข้อดีข้อเสียอย่างไรบ้าง จุดเด่นของโบมิ โพรไบโอติกส์ โพรไบโอติกส์เป็นสิ่งมีชีวิตที่อ่อนแอ และตายง่ายมาก การกินโพรไบโอติกส์ ให้ได้ประโยชน์ก็ต้องทำให้จุลินทรีย์ไม่ตายซะก่อน ขณะที่กำลังลงไปถึงลำไส้ในขณะที่ท้องเราไม่ว่าง ก็อาจทำให้โพรไบโอติกส์...
ByadminJune 22, 2025การทานโพรไบโอติกส์ให้ได้ผลดี นอกจากจะต้องมีปริมาณจุลินทรีย์ที่มากพอแล้ว สิ่งสำคัญอีกอย่างคือ สายพันธุ์ของแบคทีเรียตัวดี ยิ่งมีหลายสายพันธุ์ก็ยิ่งดี เพราะโพรไบโอติกส์แต่ละสายพันธุ์ก็ใช้ประโยชน์ที่แตกต่างกัน 10Probiotics (เท็นโปรไบโอติก) ของบริษัท CEO Factory มีโพรไบโอติกมากถึง 10 สายพันธุ์ นอกจากนี้ยังมี พรีไบโอติก อาหารของโปรไบโอติกส์ อีก 3 ชนิดด้วยกัน 10Probiotics มีจุลินทรีย์ดี 12,500...
ByadminNovember 16, 2024สำหรับคนที่เป็นลำไส้แปรปรวน (IBS) เป็นปัญหาที่รบกวนใจไม่น้อย ทั้งอาการปวดท้องบ่อยๆ ถ่ายเหลวบ่อยๆ เหมือนคนท้องเสียเป็นประจำ หรือบางคนก็ท้องผูก หรือท้องผูกสลับกับท้องเสีย หลากหลายอาการ แล้วแต่คน กินยาปฏิชีวนะแล้วก็ไม่หาย ผมแนะนำ Probiotic+Prebiotic ตัวนี้ “Probac7” หลายๆคนลอง โพรไบโอติกยี่ห้อนี้ดูแล้วค่อนข้างได้ผลดี กินติดต่อกัน 30 วัน ลำไส้จะค่อยๆปรับสมดุลให้ดีขึ้น ทำให้ขับถ่ายเริ่มเป็นปกติ อาการปวดท้องก็ค่อยๆดีขึ้น...
ByadminNovember 16, 2024เพิ่มจุลินทรีย์ดีในลำไส้ ด้วย Lactis Apple Cider Vinegar Lactis ผลิตภัณฑ์จากประเทศญี่ปุ่น ผลิตจาก Apple Cider ซึ่งเป็นวัตถุดิบธรรมชาติ ด้วยจุลินทรีย์ ถึง 16สายพันธุ์ หมักบ่ม 1 ปีเต็ม จึงนำมาสกัดอีกขั้น ช่วยทำความสะอาดลำไส้ ต้นตอของโรคหลายๆโรค ไร้สารพิษตกค้าง ห่างไกลจากมะเร็ง...
ByadminDecember 25, 2023นวัตกรรม Tetrabiotics วิตามินสำหรับผิวเภสัชจุฬาฯ จบทุกปัญหาผิว #ผลงานวิจัยคณะเภสัชจุฬาฯ.เคลียร์ปัญหาผิวซ้ำซาก แก้ยากไม่รู้จบ #เพราะปัญหาผิวต้องแก้จากภายใน เพื่อผิวสวยใสอย่างยั่งยืน • 𝙋𝙧𝙤𝙗𝙞𝙤𝙩𝙞𝙘𝙨 𝟳 สายพันธุ์เฉพาะที่ดีต่อผิว เข้าแก้ปัญหาผิวอย่างล้ำลึกตรงจุด ช่วยฟื้นคืนสมดุลผิวตามธรรมชาติ เผยผิวใหม่ แข็งแรงกว่าที่เคย ไม่ไวต่อปัจจัยกระตุ้น • 𝙋𝙧𝙚𝙗𝙞𝙤𝙩𝙞𝙘𝙨 𝙋𝙤𝙨𝙩𝙗𝙞𝙤𝙩𝙞𝙘 และ 𝙋𝙖𝙧𝙖𝙗𝙞𝙤𝙩𝙞𝙘𝙨 เสริมการทำงานของโปรไบโอติกส์ ช่วยปรับสมดุลจุลินทรีย์ให้ลำไส้ แก้ปัญหาผิวจากภายใน...
ByadminOctober 30, 2023โพรไบโอติกส์ คือ แบคทีเรียชนิดดีในระบบทางเดินอาหาร ที่อยู่ในร่างกายของเรา แน่นอนว่าร่างกายของเราถ้าทุกอย่างสมดุล ร่างกายก็จะแข็งแรง แต่ด้วยการใช้ชีวิตและการกินอยู่ของคนเราทุกวันนี้ไม่สามารถได้สารอาหารที่ครบ 5 หมู่และมีประโยชน์ ก็จะทำให้ร่างกายเสียสมดุลและก่อให้ร่างกายไม่แข็งแรง
โพรไบโอติกส์ เป็นแบคทีเรียที่อยู่มากในระบบลำไส้ มีส่วนช่วยในการดูดซึมสารอาหารและการป้องกันโรคและการรักษาสภาวะผิดปกติของร่างกายให้แข็งแรง
ช่วยปรับสมดุลระบบขับถ่าย ลดอาการลำไส้แปรปรวน อาการท้องเสียสลับท้องผูก
เพิ่มความคล่องตัวในการขับถ่าย บรรเทาอาการท้องผูก ถ่ายยาก
ช่วยส่งเสริมการทำงานของระบบย่อยอาหาร ลดอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ
กระตุ้นการสร้างจุลินทรีย์ชนิดดี และช่วยกำจัดจุลินทรีย์ชนิดไม่ดีออกจากร่างกายผ่านการขับถ่าย จึงช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันของร่างกายได้ด้วย
ช่วยปรับสมดุลจุลินทรีย์ในช่องคลอด ลดการเจริญเติบโตของแบคทีเรียและเชื้อราในช่องคลอด
ช่วยคงระดับอารมณ์ และหากได้รับโพรไบโอติกในปริมาณที่เพียงพอก็จะมีส่วนช่วยปรับอารมณ์ให้ดีขึ้น ดีต่อสุขภาพใจ บรรเทาอาการซึมเศร้าและวิตกกังวลได้
เวลาที่ดีในการทานโพรไบโอติกส์ คือก่อนมื้ออาหาร หรือระหว่างมื้ออาหาร เพื่อหลีกเลี่ยงการถูกทำลายโดยน้ำย่อยหรือยาบางชนิด เนื่องจากช่วงก่อนอาหาร กระเพาะจะมีความเป็นกรดต่ำ โอกาสที่โพรไบโอติกจะถูกทำลายจากน้ำย่อยจึงลดลง และควรกินโพรไบโอติกกับน้ำอุณหภูมิห้องหรือน้ำเย็น เพื่อช่วยดึงประสิทธิภาพโพรไบโอติกได้มากขึ้น
นอกจากนี้ก็ควรรับประทานโพรไบโอติกในปริมาณที่เหมาะสม คือ ประมาณ 10-20 พันล้านตัวต่อวัน หรืออย่างต่ำควรได้รับ 10,000 ล้าน CFU ต่อวัน โดยสามารถเช็กจำนวนโพรไบโอติกได้จากฉลากสินค้า เช่น ฉลากนมเปรี้ยว ฉลากโยเกิร์ต หรือฉลากอาหารเสริมโพรไบโอติกเลยค่ะ
โพรไบโอติกส์ นั้นเป็นแบคทีเรียที่ดีก็จริง แต่ก็มีคนบางกลุ่มที่ไม่เหมาะจะทาน มีใครบ้าง ลองดูกันครับ
ไม่ใช่ทุกจุลชีพจะให้ผลทางสุขภาพเหมือนกัน แม้จะอยู่ในสกุลเดียวกัน
ตัวอย่างเช่น:
Lactobacillus rhamnosus GG → เสริมภูมิคุ้มกัน บรรเทาอาการท้องเสีย
Bifidobacterium lactis HN019 → ส่งเสริมการขับถ่าย
การเลือกสายพันธุ์ที่ผ่านการศึกษาแบบ clinical trial เป็นหลักฐานชัดเจนว่ามีประโยชน์จริง
🔍 คำแนะนำ: ตรวจฉลากผลิตภัณฑ์ว่าระบุสายพันธุ์ครบ เช่นGenus species strain
→ Lactobacillus acidophilus La-5
CFU (Colony Forming Units) คือหน่วยนับจำนวนจุลชีพที่ยังมีชีวิต
ปริมาณที่แนะนำคือ อย่างน้อย 10,000 ล้านตัว (10 Billion CFU) ต่อวัน
ปริมาณที่มากพอช่วยให้จุลชีพสามารถตั้งรกรากในลำไส้ได้จริง
⚠️ บางผลิตภัณฑ์มี CFU สูงตอนผลิต แต่ “ลดลงอย่างรวดเร็ว” หากไม่มีเทคโนโลยีป้องกัน
โพรไบโอติกส่วนใหญ่ตายก่อนถึงลำไส้ เพราะไม่ทนกรดในกระเพาะ
เทคโนโลยี “Encapsulation” หรือการเคลือบจุลชีพด้วยสารพิเศษ จะช่วยให้มันรอดผ่านกรดไปถึงลำไส้เล็ก ซึ่งเป็นจุดที่เริ่มทำงาน
👁🗨 ตรวจสอบได้จากคำว่า “enteric-coated”, “dual-layer capsule”, “acid-resistant”
เลือกผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีส่วนผสมของ:
น้ำตาลฟรุกโตส
สารให้ความหวานเทียม
สี / กลิ่นสังเคราะห์
เพราะสิ่งเหล่านี้อาจรบกวนระบบลำไส้ หรือ “เลี้ยงจุลชีพก่อโรค”
✅ เลือกแบบ “clean label” คือ ไม่มีส่วนผสมเกินจำเป็น
5. Storage – การเก็บรักษาอย่างถูกวิธี
ผลิตภัณฑ์โพรไบโอติกบางชนิดต้องแช่เย็น เพื่อรักษาชีวิตของจุลชีพ
ขณะที่บางแบรนด์มีเทคโนโลยีที่เก็บไว้ในอุณหภูมิห้องได้ (shelf-stable)
🔍 ควรเลือกแบรนด์ที่:
ระบุอุณหภูมิที่เหมาะสมบนฉลาก
มีการันตี CFU “จนถึงวันหมดอายุ” (ไม่ใช่แค่ตอนผลิต)
ขั้นตอน | คำอธิบาย |
---|---|
P – Proven Strain | ต้องมีสายพันธุ์เฉพาะ + งานวิจัยรองรับ |
R – Right CFU | ปริมาณมากพอ ตั้งแต่ 10 Billion CFU ต่อวัน |
E – Encapsulation | ผ่านกรดในกระเพาะได้ถึงลำไส้ |
I – Ingredients Clean | ไม่มีน้ำตาล สี กลิ่น หรือสารไม่จำเป็น |
S – Storage | เก็บถูกวิธี จุลชีพยังมีชีวิตถึงวันหมดอายุ |